Copyright 2024 - Custom text here

สถิติ เบาหวานในหญิงตั้งครรภ์

 

การควบคุมอาหารเป็นสิ่งสำคัญที่สุดสำหรับเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ อย่างไรก็ดี คงต้องคำนึงถึงสารอาหารทั้งแม่และลูกด้วย

การรับประทานอาหารตามพลังงานในแต่ละวัน ขึ้นกับน้ำหนักของแม่

·     30 kcal/kg for women with a BMI of 22-25

·     24 kcal/kg for women with a BMI of 26-29

·     12-15 kcal/kg for women with a BMI above 30

ควรรับประทานคาร์โบไฮเดรต ประมาณ 35-45% ของพลังงานจากอาหารทั้งหมดในแต่ละวัน,แบ่งเป็น 3 มื้อ

ไม่นิยมให้น้ำหนักขึ้นมากไปในรายที่น้ำหนักมากอยู่แล้ว เนื่องจากเพิ่มความเสี่ยงต่อลูกตัวใหญ่ คลอดยาก เป็นต้น

The recommended weight gain during singleton pregnancy is dependent on pre-pregnancy BMI: 12.5-18 kg of weight gain for underweight women (BMI <18.5 kg/m2); 11.5-16 kg for normal weight (BMI 18.5-24.9 kg/m2); 7-11.5 kg for overweight (BMI 25-29.9 kg/m2), and 5-9 kg for obese (BMI 30.0 kg/m2)

หากคุมอาหารไม่ได้ผลในการควบคุมระดับน้ำตาล แนะนำใช้อินซูลิน

หากน้ำตาลก่อนอาหารสูงกว่า 90-95 มก/ดล ให้ใช้   basal insulin, long-acting insulin analog, or neutral protamine Hagedorn (NPH);

หากน้ำตาลหลังอาหารสูงกว่า 120 มก/ดล ให้ใช้ rapid-acting insulin, or regular insulin

โดยสรุปใช้ยาฉีดก่อนมื้ออาหาร 3 ครั้ง และก่อนนอน 1 ครั้ง  a 4-injections-per-day regimen “basal and meal time insulin regimen”

          For overt diabetes with pregnancy in the first trimester, the total daily insulin requirement is 0.7 units/kg/day, in the second trimester it is 0.8 units/kg/day, and in the third trimester it is 0.9-1.0 units/kg/day

          In a morbidly obese woman, the initial doses of insulin may need to be increased to 1.5-2.0 units/kg to overcome the combined IR of pregnancy and obesity. Subsequently, the calculated total daily dose of insulin should be divided into 2 halves; one half given as basal insulin at bed time, and the other half divided between 3 meals, and given as rapid-acting, or regular insulin before meals. As insulin requirement may increase with the progression of pregnancy, it is crucial to follow patients’ SMBG regularly, and optimize their insulin doses.

 

                    https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4404472/ 

     

เข้าใจเบาหวาน



ประเมินความเสี่ยงเบาหวาน



น้ำตาล


วันเบาหวานโลก


สถิติ


บริจาค


วารสารเบาหวาน


วงล้อดัชนีน้ำตาล


เครือข่ายชมรมเบาหวาน

 

 เครือข่ายบริบาลและการลงทะเบียนเบาหวานชนิดที่ 1 และเบาหวานวินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี

Thai-Type 1 Diabetes and Diabetes diagnosed Age before 30 years Registry, Care and Network (T1DDAR CN) เครือข่าย T1DDAR CN

คู่มือ


สื่อการสอน T1DDAR CN และ
DSME module


สมัครเข้าร่วมเป็นเครือข่าย 
T1DDAR CN

รู้จักเรา "T1DDAR CN"


ประมวลภาพกิจกรรม


หนังสือ


 

เอกสารโครงการ T1DDAR CN 


T1DDAR CN DASH BOARD


ช่องทางติดต่อเครือข่าย T1DDAR CN

โครงการ For Your Sweetheart ประเทศไทย จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ทุกคนเกิดความตระหนักถึงความสำคัญของโรคเบาหวาน และโรคหัวใจโดยมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และครอบครัวทราบถึงความเสี่ยงของโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด พร้อมทั้งให้ความรู้กับบุคคลใกล้ชิด เพื่อที่จะสามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกวิธีรวมไปถึงการเข้ารับคำปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้

 

 



 


 
 
 
 
 

                       

   

 

1434387
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
2587
6147
37684
29212
127102
1148416
1434387

Your IP: 172.70.179.105
2024-04-20 08:35