ภาวะน้ำตาลสูงวิกฤติ แบ่งเป็น 2 ประเภท
1. DKA เป็นภาวะน้ำตาลในเลือดสูง เลือดเป็นกรด คีโตนคั่ง -> wide anion gap metabolic acidosis, ketonemia
- มีภาวะขาดอินซูลิน
- มีการเพิ่มขึ้นของ counterregulatory hormones โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลูคากอน ทำให้เพิ่มน้ำตาลในเลือดโดย gluconeogenesis, glycogenolysis, and impaired glucose utilization by peripheral tissues
- ในตับ มีการเพิ่มเอนไซม์ gluconeogenic enzymes fructose 1,6 bisphosphatase, phosphoenolpyruvate carboxykinase (PEPCK), glucose-6-phosphatase, and pyruvate carboxylase are stimulated by an increase in the glucagon to insulin ratio and by an increase in circulating cortisol concentrations
-ในเซลล์ไขมัน เพิ่มระดับ circulating free fatty acids ซึ่งถูกเปลี่ยนเป็น acetoacetate and β-hydroxybutyrate in hepatic mitochondria, ทำให้คีโตนในเลือดสูง และเลือดเป็นกรด
2. HHS น้ำตาลในเลือดสูงมากจนเกิดภาวะขาดน้ำ ออสโมลสูง โดยไม่มีคีโตนคั่ง แต่อาจมีภาวะเลือดเป็นกรดได้เล็กน้อย จากภาวะขาดน้ำ